E-Portfolio Subject to the Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 /2557

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 10


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 21 ตุลาคม 2557


วันนี้นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ ของตนเองคะ
ของดิฉัน ชื่อว่า

หลอดไหมพรมเต้นระบำ





บรรยากาศที่ครูสอนคะ


ถัดมาจะเป็นการประดิษฐ์ของเล่นคะ
เป็นของเล่นไต่เชือก


ของดิฉันไก่ไต่เชือกคะ


ถ่ายรูปรวมกับเพื่อนๆคะ


การนำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ของตัวเองและของเพื่อนๆ
ไปประดิษฐ์ให้เด็กๆเล่นในอณาคตได้คะ
ได้รับความรู้จากครูและเพื่อนๆมาก
ในการประดิษฐ์ของเล่นคะ

การประเมินผล

ตนเอง...ตั้งใจดูผลงานของเพื่อนที่นำเสนอ
และตั้งใจนำเสนอผลงานของตัวเองดีมากคะ
เพื่อน...ค่อนข้างตั้งใจฟังครูอธิบายและสิ่งประดิษฐ์
ที่เพื่อนๆกำลังนำเสนอคะ
อาจารย์...ได้ให้แนวคิดวิธีการประดิษฐ์และประโยชน์
จากของเล่นดีมากคะ

.
.
.
ขอบคุณคะ
.
.
.

สรุป วีดีโอ ความลับของอากาศ


วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ของเล่นวิทยาศาสตร์

 

ไหมพรมเต้นระบำ





วัสดุอุปกรณ์

หลอดสีต่างๆ  

สก๊อตเทป  

กรรไกร 

ไหมพรม





วิธีการทำ









ตัดหลอดเป็น2ชิ้นขนาดเท่าๆกัน















นำหลอดชิ้นแรกผ่าด้วยกรรไกร
ขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร












นำหลอดชิ้นที่ 2 มาตัดตรงปลาย
ตัดข้างที่ถนัดจากในไปปลายหลอด
โดยตัดแค่ครึ่งของหลอด ขนาดประมาณ
1 เซนติเมตรเช่นกัน










นำปลายหลอดที่ตัดมา
ประกบกับรูที่ผ่า
ให้ช่องเสมอกัน
แล้วพันด้วยสก็อตเทป
คำแนะนำ
(จากอาทิตย์ที่แล้วที่ผิดพลาด)
เมื่อลองทำแล้วพบว่า
ห้ามพันกันแน่นเกิน
ให้เหลือปลายหลอด
ด้านบนไว้ดังรูป







    แล้วนำไหมพรมตัดขนาดพอเหมาะ      
มาร้อยในหลอดที่ผ่า
ไม่ใช่หลอดที่ตัดปลายหลอด
แล้วผูกปลายไหมพรมให้เรียบร้อย













ผูกปลายให้มีปมขนาดที่เล็กที่สุด
เพื่อการเป่าจะได้ไม่ติดปม
แล้วตัดปลายที่ผูกให้สั้น














จะได้ตามรูปภาพ

















เมื่อเป่าแล้ว ไหมพรมจะเต้นระบำได้ตามรูปภาพ











เพราะเหตุใดไหมพรมจึงเต้นระบำ

ที่ไหมพรมเต้นระบำได้นั้นเกิดจากการเป่าหลอดที่ผ่ารู
โดยการจะให้ไหมพรมเต้นระบำได้อย่างสวยงามนั้น
ต้องพันเทปไม่ให้แน่นเกินไปเพื่อให้อากาศไหลผ่านรูที่ผ่า
และรูด้านบนกระทบกันทั้งสองช่อง
จึงทำให้ไหมพรมเคลื่อนที่ได้ง่ายและไม่สะดุด

ถ้าเราพันกาวแน่นละ ก็จะเกิดปัญหาโดยที่เราจะเป่าไหมพรมไม่ออก 
เพราะไม่มีอากาศที่เข้าไปช่วยดันทางด้านบนนั่นเอง

.
.
.
ขอบคุณคะ
.
.
.

หน่วย กล้วย





  นี่คือผลงานที่ได้ทำส่งครู แล้วมีบางหัวข้อที่ผิดจึงได้ ทำมาใหม่คะ

 



และนี่คืองานที่ได้แก้ไข ทำใหม่ แล้วคะ

 
 .
.
.
ขอบคุณคะ
.
.
.
 

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9

 

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 14 ตุลาคม 2557

 

 ใน วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาที่พร้อมในการนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของเล่น
ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 
ใครพร้อมก็ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
โดยที่จะออกหรือไม่ออกก็ได้แต่ให้นำอุปกรณ์และมานำเสนอจริงในสัปดาห์หน้า
 แต่ในสัปดาห์นี้ดิฉัน ได้เตรียมอุปกรณ์มาและได้ทดลองทำก่อนออกมานำเสนอแล้ว
จึงคิดว่าพร้อมและสามารถออกไปนำเสนอได้
แต่ ทว่า ได้เกิดปัญหาขึ้นในภายหลังจึงไม่ได้ออกไปนำเสนอคะ

และนี่คือสิ่งประดิษฐ์ที่ดิฉันเลือกคะ คือ


.. ไหมพรมเต้นระบำ..

 

 ...รูปภาพประกอบจากอินเตอร์เนตคะ...


 เมื่อเพื่อนนำเสนองานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ครูก็ได้พูดถึงปัญหาในการเรียนของพวกเราให้เข้าใจตรง กัน
เพื่อที่ครั้งต่อไปการเรียนและการทำงานจะได้ไม่มีปัญหาคะ
และสุดท้ายครูให้พวกเราเตรียมอุปกรณ์มาในอาทิตย์หน้า
เพื่อที่จะมานำเสนอหน้าชั้นเรียนคะ



การนำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ของตัวเองและของเพื่อนๆ
ไปประดิษฐ์ให้เด็กๆเล่นในอณาคตได้คะ

การประเมินผล

ตนเอง...ตั้งใจดูผลงานของเพื่อนที่นำเสนอดีมากคะ
เพื่อน...ค่อนข้างตั้งใจฟังครูอธิบายและสิ่งประดิษฐ์
ที่เพื่อนๆกำลังนำเสนอคะ
อาจารย์...ได้ให้แนวคิดวิธีการทำงานดีมากคะ
และให้คำแนะนำสำหรับใครที่ทำสิ่งประดิฆฐ์ที่ผิดพลาดคะ

 
.
.
.
ขอบคุณคะ
.
.
.
 

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 8

 

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 7 ตุลาคม 2557



ในวันนี้ไม่มีการเรียนการสอนคะ

เนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาคของมหาวิทยาลัย



.
.
.
ขอบคุณคะ
.
.
.

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7

 

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 30 กันยายน 2557



วันนี้อาจารย์ติดสัมนาเรื่อง จิตอาสาตามรอยแนวเศรษฐกิจพอเพียง

โดยพี่ ปอ ทฤษฎี สหวงษ์

จึงได้มอบหมายงานให้ทำคะ


.
.
.
ขอบคุณคะ
.
.
.